นักกฏหมายไทยในประเภท หรือสไตล์ "ศรีธนญชัย" กำลังจะสร้างตวามฉิบหายให้แก่บ้านเมืองไทย พี่น้องคนไทยทั้หลาย พึงสดับตรับฟัง
นี่คือข้อชี้แนะ ด้วยหัวใจที่เปี่ยมล้นไปด้วยความหวังดี และ บริสุทธิ์ใจ
๑.การไปเที่ยว ออกกฏหมายเถื่อนในเรื่อง ปปช. และบัญญัติให้มีโทษถึงขั้นประหารชีวิต หากเจ้าหน้าที่ผู้ใดกระทำการอันเป็นการคอร์รัปชั่น (Corruption) ให้คนไทยตื่นเต้นเล่น
นี่คือข้อชี้แนะ ด้วยหัวใจที่เปี่ยมล้นไปด้วยความหวังดี และ บริสุทธิ์ใจ
๑.การไปเที่ยว ออกกฏหมายเถื่อนในเรื่อง ปปช. และบัญญัติให้มีโทษถึงขั้นประหารชีวิต หากเจ้าหน้าที่ผู้ใดกระทำการอันเป็นการคอร์รัปชั่น (Corruption) ให้คนไทยตื่นเต้นเล่น
๒. อย่าไปเชื่อในน้ำยานี้ เพราะผมต้องขอให้พี่น้องประชาชนคนไทยไปอ่านตัวบทกฏหมาย ในเรื่องนี้ให้ดีๆ
๓. นี่เป็น การที่ประเทศไทย พยายามออกกฏหมายมาล้อ Convention against Corruption, 2003
๔. ที่ประเทศไทย โดยนายกรัฐมนตรีคนดีของเปรม ไปประกาศเข้าร่วม และ ให้สัตยาบันเอาไว้ในวันที่ ๑ มีนาคม ปี ค.ศ.2011 หรือปี พ.ศ.๒๕๕๔
๕. ในสนธิสัญญานี้ บัญญัติให้เรื่อง "ฟอกเงิน" เป็นความผิดทางอาญาอย่างหนึ่ง
๖.วิธีการออกกฏหมายเลี่ยง ก็คือ การไปแปลความออกมา เป็นภาษาไทยให้ใกล้เคียง ภาษาอังกฤษ ให้มากที่สุด แล้วนำมา ตีความเพื่อสร้างช่องโหว่ (Loop - Hole) ของกฏหมาย
๗. แล้วนำไปเขียนเป็นกฏหมาย วิธีการเช่นนี้ เรียกได้ว่า "เป็นการสร้างกฏหมาย เพื่อหลีกเลี่ยงเจตนารมย์ ของกฏหมาย อันมีที่มาจากสนธิสัญญา [พันธกรณีจากสนธิสัญญา] "
๘. การกระทำ จึงไปขัดหรือแย้งกับสนธิสัญญา ที่ตนมีภาระผูกพันอยู่ ในตัวเอง [Per se']
๙. จึงทำให้ประเทศไทย ไปกระทำการฝ่ายเดียว หรือ เป็น [Unilateral Action] เพื่อแก้ไข บทสนธิสัญญาให้ผ่อนคลาย หรือ ย่อหย่อนลง
๑๐. เพื่อประโยชน์ในการใช้ หรือไม่ใช้กฏหมายกับ คนบางกลุ่ม บางพวก
๑๑.จึงทำให้กฏหมายนี้ ต้องตก เป็นโมฆะ เพราะไปขัดหรือแย้ง กับ ความตาม Convention against Corruption, 2003 ที่บัญญัติไว้ในทันที
๑๒.เพราะขาดสภาพบังคับ ในทางกฏหมาย ตามนัยของคำพิพวกษาของ ศาลโลกเดิม คือ the Permanent Court of International Justice, PCIJ ในคดี the Greco - Bulgarian Communities Case ที่พิพากษาไว้ในปีค.ศ.1930
๑๓. มีผลบังคับ ตามกฏบัตรสหประชาชาติ หรือ the Charter of United Nations บทบัญญัติที่ 92 - 95 (ให้ไปพลิกอ่านศึกษา ดูเถิดพี่น้องประชาชนคนไทยทั้งหลาย)
๑๔. โดยศาลโลก เดิมพิพากษาว่า "กฏหมายภายใน ไม่สามารถออกมาในภายหลัง ซึ่งเป็น การแก้ไขพันธกรณี จากสนธิสัญญา เพียงฝ่ายเดียว หรือ Unilateral Action กฏหมาย อันมีที่มาจาก สนธิสัญญา ย่อมอยู่เหนือกว่า กฏหมายภายในของ รัฐคู่กรณี ที่เป็น รัฐคู่ภาคี ของสนธิสัญญา ในทุกกรณี ข้อต่อสู้เช่นนี้ ศาลโลก ไม่อาจบังคับบัญชาให้ได้"
๑๕. และมาย้ำหัวตะปูของ หลักการตามกฏหมายเช่นนี้ โดยศาลสถิตย์ยุติธรรมสังคมประชาคมเศรษฐกิจยุโรป หรือ the European Court of Justice ในคดี "Flaminio Costa v. E.N.E.L.
๑๖. ในวันนี้ EU เข้ามาอยู่ใน ASEAN เต็มตัวตั้งแต่ ปีค.ศ.1995 แล้ว เขาจะยอมให้คุณทำอย่างนี้เหรอ?
๑๗. ประเทศไทย ต้องไปตกเป็นจำเลย ในศาลยุติธรรมระหว่างชาติ แล้วถูกปรับในแต่ละ คดีเป็นเงินหลายแสนล้านยูโรดอลลาร์
๑๘. สมาชิกส.น.ช.[เถื่อน] ผู้ร่วมกันผ่านกฏหมายฉบับนี้ คุณรับเรื่องราวนี้ ไหวนะ!!!
๑๙. ผม จึงมีความจำเป็น ต้องเตือนพี่น้องประชาชนคนไทย ให้ช่วยกันระแวดระวังภัย อันจะมีมาจากนอกประเทศ หรือต่างประเทศ
เอวัง ก็มีด้วยประการ ฉะนี้.
๓. นี่เป็น การที่ประเทศไทย พยายามออกกฏหมายมาล้อ Convention against Corruption, 2003
๔. ที่ประเทศไทย โดยนายกรัฐมนตรีคนดีของเปรม ไปประกาศเข้าร่วม และ ให้สัตยาบันเอาไว้ในวันที่ ๑ มีนาคม ปี ค.ศ.2011 หรือปี พ.ศ.๒๕๕๔
๕. ในสนธิสัญญานี้ บัญญัติให้เรื่อง "ฟอกเงิน" เป็นความผิดทางอาญาอย่างหนึ่ง
๖.วิธีการออกกฏหมายเลี่ยง ก็คือ การไปแปลความออกมา เป็นภาษาไทยให้ใกล้เคียง ภาษาอังกฤษ ให้มากที่สุด แล้วนำมา ตีความเพื่อสร้างช่องโหว่ (Loop - Hole) ของกฏหมาย
๗. แล้วนำไปเขียนเป็นกฏหมาย วิธีการเช่นนี้ เรียกได้ว่า "เป็นการสร้างกฏหมาย เพื่อหลีกเลี่ยงเจตนารมย์ ของกฏหมาย อันมีที่มาจากสนธิสัญญา [พันธกรณีจากสนธิสัญญา] "
๘. การกระทำ จึงไปขัดหรือแย้งกับสนธิสัญญา ที่ตนมีภาระผูกพันอยู่ ในตัวเอง [Per se']
๙. จึงทำให้ประเทศไทย ไปกระทำการฝ่ายเดียว หรือ เป็น [Unilateral Action] เพื่อแก้ไข บทสนธิสัญญาให้ผ่อนคลาย หรือ ย่อหย่อนลง
๑๐. เพื่อประโยชน์ในการใช้ หรือไม่ใช้กฏหมายกับ คนบางกลุ่ม บางพวก
๑๑.จึงทำให้กฏหมายนี้ ต้องตก เป็นโมฆะ เพราะไปขัดหรือแย้ง กับ ความตาม Convention against Corruption, 2003 ที่บัญญัติไว้ในทันที
๑๒.เพราะขาดสภาพบังคับ ในทางกฏหมาย ตามนัยของคำพิพวกษาของ ศาลโลกเดิม คือ the Permanent Court of International Justice, PCIJ ในคดี the Greco - Bulgarian Communities Case ที่พิพากษาไว้ในปีค.ศ.1930
๑๓. มีผลบังคับ ตามกฏบัตรสหประชาชาติ หรือ the Charter of United Nations บทบัญญัติที่ 92 - 95 (ให้ไปพลิกอ่านศึกษา ดูเถิดพี่น้องประชาชนคนไทยทั้งหลาย)
๑๔. โดยศาลโลก เดิมพิพากษาว่า "กฏหมายภายใน ไม่สามารถออกมาในภายหลัง ซึ่งเป็น การแก้ไขพันธกรณี จากสนธิสัญญา เพียงฝ่ายเดียว หรือ Unilateral Action กฏหมาย อันมีที่มาจาก สนธิสัญญา ย่อมอยู่เหนือกว่า กฏหมายภายในของ รัฐคู่กรณี ที่เป็น รัฐคู่ภาคี ของสนธิสัญญา ในทุกกรณี ข้อต่อสู้เช่นนี้ ศาลโลก ไม่อาจบังคับบัญชาให้ได้"
๑๕. และมาย้ำหัวตะปูของ หลักการตามกฏหมายเช่นนี้ โดยศาลสถิตย์ยุติธรรมสังคมประชาคมเศรษฐกิจยุโรป หรือ the European Court of Justice ในคดี "Flaminio Costa v. E.N.E.L.
๑๖. ในวันนี้ EU เข้ามาอยู่ใน ASEAN เต็มตัวตั้งแต่ ปีค.ศ.1995 แล้ว เขาจะยอมให้คุณทำอย่างนี้เหรอ?
๑๗. ประเทศไทย ต้องไปตกเป็นจำเลย ในศาลยุติธรรมระหว่างชาติ แล้วถูกปรับในแต่ละ คดีเป็นเงินหลายแสนล้านยูโรดอลลาร์
๑๘. สมาชิกส.น.ช.[เถื่อน] ผู้ร่วมกันผ่านกฏหมายฉบับนี้ คุณรับเรื่องราวนี้ ไหวนะ!!!
๑๙. ผม จึงมีความจำเป็น ต้องเตือนพี่น้องประชาชนคนไทย ให้ช่วยกันระแวดระวังภัย อันจะมีมาจากนอกประเทศ หรือต่างประเทศ
เอวัง ก็มีด้วยประการ ฉะนี้.
No comments:
Post a Comment