Thursday, April 2, 2015

ความชั่วร้าย ของมาตรา 44 ที่ภูมิพลและทหารของเขางัดมาใช้กับคนไทย

ความชั่วร้าย ของมาตรา 44 ที่ภูมิพลและทหารของเขางัดมาใช้กับคนไทย มาตรา 44 ให้ทหารของเครือข่ายภูมิพล ทำอะไรได้บ้าง?


คำสั่ง คสช.3/2558 ให้นายทหารชั้นสัญญาบัตร เป็น “เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย" สรุปภาพรวมเบื้องต้นดังนี้


-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สำเร็จราชการฯ ตาม ม. ๑๐๗ ถึงม. ๑๑๒ ตาม ป.อาญา
-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร ตามมาตรา ๑๑๓ ถึงมาตรา ๑๑๘ แห่งประมวลกฎหมายอาญา

-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดตามกฎหมายว่าด้วยอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน

-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดอันเป็นการฝ่าฝืนประกาศหรือคำสั่ง คสช. หรือคำสั่งหัวหน้า คสช.

-มีอำนาจออกคำสั่งเรียกให้บุคคลมารายงาน ตัวจับกุมตัวบุคคลที่กระทำความผิดซึ่งหน้า และควบคุมตัวผู้ถูกจับนำส่งตำรวจ

-มีอำนาจช่วยเหลือ สนับสนุน หรือเข้าร่วมในการสอบสวนกับตำรวจ ในการเข้าร่วมให้ถือว่าทหารเป็นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

- มีอำนาจเข้าไปในเคหสถาน หรือสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจค้น รวมตลอดทั้งค้นบุคคลหรือยานพาหนะใด ๆ รวมทั้งยึดหรืออายัดทรัพย์สินที่ค้นพบ

-กรณีมีความจำเป็นเพื่อแก้ไขสถานการณ์ที่เป็นภัยต่อความมั่นคง ทหารมีอำนาจออกคำสั่งห้ามการเสนอข่าว จำหน่าย หรือแพร่หลายหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์

- ทหารมีอำนาจเรียกตัวบุคคลมาสอบถามข้อมูล โดยสามารถควบคุมตัวได้ 7 วัน และห้ามควบคุมตัวที่สถานีตำรวจทัณฑสถาน หรือเรือนจำ

- ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของทหารต้องระวางโทษจำคุก
ไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
-ผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางทหารในการปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับ
ไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
-การชุมนุมทางการเมือง จำนวนตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
-ผู้ใดมีความผิดจากการชุมนุมทางการเมือง แต่สมัครใจเข้ารับการอบรมจากทหาร ไม่เกิน 7 วัน และทหารเห็นสมควรปล่อยตัว ให้ถือว่าคดีเลิก
- การกระทำตามคำสั่งนี้ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการท
างปกครอง และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
- ทหารที่กระทำการไปตามอำนาจหน้าที่ได้รับความคุ้มครองตาม ม.๑๗ แห่งพรก.ฉุกเฉิน


โปรดอ่านซ้ำ แล้วสรุปให้ได้ว่า เผด็จการสมบูรณาญาสิทธิราชย์ใหม่ แปลงร่างได้เนียนขนาดไหนก็ไม่รอดพ้นสายตาชาวไทยและชาวโลกได้อีกต่อไป

-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สำเร็จราชการฯ ตาม ม. ๑๐๗ ถึงม. ๑๑๒ ตาม ป.อาญา
-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร ตามมาตรา ๑๑๓ ถึงมาตรา ๑๑๘ แห่งประมวลกฎหมายอาญา
-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดตามกฎหมายว่าด้วยอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน
-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดอันเป็นการฝ่าฝืนประกาศหรือคำสั่ง คสช. หรือคำสั่งหัวหน้า คสช.
-มีอำนาจออกคำสั่งเรียกให้บุคคลมารายงาน ตัวจับกุมตัวบุคคลที่กระทำความผิดซึ่งหน้า และควบคุมตัวผู้ถูกจับนำส่งตำรวจ
-มีอำนาจช่วยเหลือ สนับสนุน หรือเข้าร่วมในการสอบสวนกับตำรวจ ในการเข้าร่วมให้ถือว่าทหารเป็นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
- มีอำนาจเข้าไปในเคหสถาน หรือสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจค้น รวมตลอดทั้งค้นบุคคลหรือยานพาหนะใด ๆ รวมทั้งยึดหรืออายัดทรัพย์สินที่ค้นพบ
-กรณีมีความจำเป็นเพื่อแก้ไขสถานการณ์ที่เป็นภัยต่อความมั่นคง ทหารมีอำนาจออกคำสั่งห้ามการเสนอข่าว จำหน่าย หรือแพร่หลายหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์
- ทหารมีอำนาจเรียกตัวบุคคลมาสอบถามข้อมูล โดยสามารถควบคุมตัวได้ 7 วัน และห้ามควบคุมตัวที่สถานีตำรวจทัณฑสถาน หรือเรือนจำ
- ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของทหารต้องระวางโทษจำคุก
ไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
-ผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางทหารในการปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
-การชุมนุมทางการเมือง จำนวนตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
-ผู้ใดมีความผิดจากการชุมนุมทางการเมือง แต่สมัครใจเข้ารับการอบรมจากทหาร ไม่เกิน 7 วัน และทหารเห็นสมควรปล่อยตัว ให้ถือว่าคดีเลิก
- การกระทำตามคำสั่งนี้ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
- ทหารที่กระทำการไปตามอำนาจหน้าที่ได้รับความคุ้มครองตาม ม.๑๗ แห่งพรก.ฉุกเฉิน



No comments:

Post a Comment